มงคลที่ ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา(สามี) - คู่ทุกข์ - คู่ยาก
คุณธรรมอีกอย่างหนึ่งที่พึงมี คือ ทั้งคู่ต้องมีปัญญาเสมอกัน ตั้งแต่ใช้เหตุใช้ผล ใช้สติมากกว่าอารมณ์ ไม่ตามใจตนเองจนดื้อรั้นเกินไป มีความเห็นอกเห็นใจกัน ต้องพูดกันรู้เรื่อง มีปัญหาก็ช่วยกันแก้ไข ไม่นิ่งดูดายในปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น หากเป็นเช่นนี้ ชีวิตคู่จะดำเนินไปอย่างราบรื่นและมีความสุข แม้ในยามที่มีภัย ชีวิตก็สละแทนกันได้
มงคลที่ ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา(สามี) - ยอดนารีั ศรีภรรยา
การจะใช้ชีวิตคู่ให้ยั่งยืนจนตลอดชีวิตและมีความสุข ตามอัตภาพได้นั้น ภรรยาจำเป็นต้องรู้จักวิธีครองใจสามี จะประพฤติตามใจตัวเองไม่ได้ การอยู่ร่วมกันจึงเป็นการปรับตัวให้เข้ากับสังคมใหม่ และเริ่มสร้างครอบครัวใหม่ที่ไม่มีพ่อแม่มาคอยดูแลเราอีกต่อไป เราจะต้องดูแลตนเอง สามี พ่อแม่ของสามี ดูแลลูกๆ และหมู่ญาติรวมถึงบริวารอีกมากมาย เพราะฉะนั้น ภรรยาที่ดีจึงต้องศึกษาธรรมะที่จะช่วยประคับประคอง และทำให้ชีวิตคู่ราบรื่น โดยเริ่มต้นที่ตนเองก่อน
มงคลที่ ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา(สามี) - คู่บุญคู่บารมี
สามีภรรยาจะต้องรู้จักความเป็น "ผู้ให้" ซึ่งกัน และกัน ตั้งแต่การให้ข้าวของเครื่องใช้ ให้คำพูดที่ไพเราะจริงใจ ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูล รู้จักให้อภัย รวมถึงให้ความมั่นใจต่อกัน เพราะ "การให้" เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ จะทำให้เป็นคู่บุญ คู่บารมี เป็นครอบครัวแก้วที่มีแต่ความเจริญรุ่งเรืองยิ่งๆ ขึ้นไป
มงคลที่ ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา(สามี) - ถนอมน้ำใจกันไว้
เรื่องความน้อยอกน้อยใจนี้เป็นอันตรายมาก บาง ครั้งการแสดงความหวังดีกับผู้ที่เรารัก กลับไม่ได้รับความเข้าใจเท่าที่ควร เรื่องทำนองนี้เกิดขึ้นมาแล้วหลายยุคหลายสมัย แม้ในสมัยพุทธกาลก็เคยเกิดขึ้น
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - คิดก่อน พูดก่อน ทำก่อน ได้ก่อน
กุฎุมพีชื่อว่า เวเทหะ มีทรัพย์สมบัติ ๘๐ โกฏิ เป็นผู้มีศรัทธาในพระพุทธศาสนามากได้เข้าไปถวายนมัสการพระบรมศาสดาและกราบทูลถามว่า "วันพรุ่งนี้ ขอพระองค์ทรงเมตตารับภิกษาของข้าพระองค์เถิด" พระบรมศาสดาตรัสว่า "มี ๖,๘๐๐,๐๐๐ รูป"แม้จะมีพระภิกษุสงฆ์มากมายถึงเพียงนี้ อุบาสกก็ไม่วิตกกังวล กลับมีความปีติเบิกบานใจ ที่จะได้ถวายทานแด่ภิกษุจำนวนมากมายถึงเพียงนั้น
ประวัติความเป็นมาของวันมหาปวารณา
กำเนิดวันมหาปวารณา ประวัติความเป็นมาของการทำปวารณาในวันออกพรรษาเกิดขึ้นเมื่อไร ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง
มงคลที่ ๓๕ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม - ผู้มีจิตมั่นคง
ครั้นเวลาเช้า พระภิกษุสงฆ์มีพระเถระทั้งสองเป็นประมุข ได้ออกบิณฑบาตไปตามถนน แล้วมาพักฉันภัตตาหารที่บ้านของนางนันทมารดาซึ่งได้จัดเตรียมไว้เป็นอย่างดี เมื่ออังคาสภิกษุสงฆ์ให้อิ่มหนำสำราญแล้ว นางก็เข้าไปนั่งสนทนา เล่าเรื่องที่ได้สนทนากับท้าวเวสสวัณเมื่อรุ่งอรุณให้พระเถระทั้งสองฟัง
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๖)
ยอดนักสร้างบารมีทั้งหลายในกาลก่อน กว่าที่ท่านจะประสบความสำเร็จในชีวิตได้นั้น ต้องชิงช่วงชีวิตในการสร้างบารมี เป็นผู้ที่ไม่ประมาทในขณะที่ผู้อื่นประมาทอยู่ เป็นผู้ตื่นอยู่ในขณะที่ผู้อื่นหลับใหล การสร้างบารมีแบบชิงช่วงนี้เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เพราะต้องอาศัยกำลังใจอันสูงยิ่ง ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคที่เกิดขึ้น
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - มหาทาน คือ เสบียงสู่ความหลุดพ้น
วันหนึ่งพระเจ้าเภรุวมหาราชทอดพระเนตรโรงทานของพระองค์ ทรงดำริว่า ปฏิคาหก ผู้รับทานของเรานี้ ล้วนเป็นผู้ทุศีล บริโภคทานแล้วไม่ทำให้จิตใจของทายกยินดีเลย ทำอย่างไรหนอเราจึงจะได้เนื้อนาบุญ เราปรารถนาจะถวายทานกับพระปัจเจกพุทธเจ้า
มงคลที่ ๒๙ เห็นสมณะ - เส้นทางสมณะ
พอดำริเช่นนั้นแล้ว สุภัททปริพาชกจึงเข้าไปหาพระอานนท์ ที่ดงป่าไม้สาละของพวกมัลลกษัตริย์ เพื่อกล่าวถึงความตั้งใจของตน ที่จะเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อทูลถามปัญหาที่ค้างคาใจ แต่ก็ถูกพระอานนท์กล่าวห้ามถึง ๓ครั้ง เพราะท่านเกรงว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าจะทรงลำบากพระวรกาย เนื่องจากพระพุทธองค์กำลังอาพาธ จึงไม่อยากให้ใครมารบกวน